ReadyPlanet.com
dot
dot
หลักสูตรอบรม
dot
bulletออทิสติก
bulletสติปัญญา
bulletร่างกายหรือสุขภาพ
bulletการเรียนรู้
bulletพฤติกรรมและอารมณ์
bulletภาษาและการสื่อสาร
bulletการเห็น
bulletการได้ยิน
bulletพิการซ้อน
dot
รวมลิงค์เว็บเพื่อนบ้าน
dot
bulletสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
bulletศูนย์การศึกษาพิเศษส่วนกลาง
bulletโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์
bulletสถิติการศึกษา สพฐ.
dot
Newsletter

dot


เพลง
สมาคมวิจัยทางการศึกษาพิเศษ
ดวง
ประสาทสัมผัส
ออทิสติก
ดาวน์โหลด
วิจัย พิเศษ


การบูรณาการประสาทความรู้สึกในบุคคลออทิสติก

      การบูรณาการประสาทความรู้สึก

ปนัดดา วงค์จันตา

            การบูรณาการประสาทความรู้สึก หมายถึง  การจัดการและการจัดกระบวนการเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้มาจากระบบประสาทสัมผัสที่แตกต่างกันเพื่อนำข้อมูลไปใช้เฉพาะกิจ ระบบเกี่ยวกับประสาทสัมผัสทั้งห้าบรรจุข้อมูลลงในสมอง การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น และได้รสชาติ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมนั้นๆ การเคลื่อนไหวของประสาทสัมผัสจะช่วยให้มนุษย์ได้รับข้อมูล รับรู้ว่าร่างกายของคนเรามีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก  การเรียนรู้จะเกิดขึ้นต่อเมื่อเรามีความสามารถที่จะรับรู้ข้อมูลที่ถูกต้อง มีกระบวนการจัดการเรียนเรียนรู้ รวมทั้งมีการใช้ข้อมูลการสัมผัสเพื่อการจัดการพฤติกรรม  หลักการการบูรณาการประสาทความรู้สึก  คือ  1)  การเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความสามารถในการรับและกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่ได้จากสิ่งแวดล้อม ละการเคลื่อนไหว ซึ่งส่งผลต่อการวางแผนและการจัดการกับพฤติกรรม 2) บุคคลใดที่มีความสามารถในกระบวนการจัดการกับข้อมูลการสัมผัสน้อย จะมีความยุ่งยากในการแสดงออกมาอย่างเหมาะสม ครอบคลุมทั้งการเรียนรู้และพฤติกรรม   3) การเพิ่มการรับสัมผัสโดยใช้กิจกรรมที่มีความหมาย ส่งผลต่อการมีปฏิสัมพันธ์เพิ่มขึ้น การเพิ่มความสามารถในกระบวนการจัดการกับข้อมูลการสัมผัส จะทำให้มีการเรียนรู้และการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น การบูรณาการประสาทความรู้สึก เริ่มจากระบบประสาทส่วนกลางที่ทำหน้าที่ รับข้อมูล  ตีความข้อมูลและ ส่งข้อมูลออกมาเป็นการตอบสนองที่เหมาะสม จากระบบการบูรณาการประสาทความรู้สึก ประกอบด้วย ระบบประสาทที่เป็นพื้นฐานของการรับรู้ 3 ระบบ คือ ระบบกายสัมผัส  การทรงตัว การรับรู้กล้ามเนื้อ เอ็นและข้อต่อ รับสัมผัสที่อยู่ภายในร่างกาย  ทั้ง 3 ระบบนี้ จึงเป็นรากฐานการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ของมนุษย์ มีรายละเอียดดังนี้ 

 

 

1.  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบูรณาการประสาทความรู้สึก

2.   แนวทางการแก้ปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกบกพร่อง

3. แบบสำรวจปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กทารก-ปฐมวัย 

4.  แบบสำรวจปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึก 

5.  จิตวิทยาพัฒนาการ

6.  ตารางสรุปจิตวิทยาพัฒนาการ

7. กิจกรรมการบูรณาการประสาทความรู้สึกที่ทำให้เด็กแสดงพฤติกรรมสงบนิ่งในชั้นเรียน

8. กิจกรรมบูรณาการประสาทความรู้สึกที่สร้างความตื่นตัวให้กับเด็กขณะอยู่ในชั้นเรียน

 

  ประสาทความรู้สึกผิวกาย 

 ประสาทความรู้สึกการทรงตัว 

 ประสาทความรู้สึกกล้ามเนื้อเอ็นและข้อต่อ 

T1. ประสาทความรู้สึกผิวกาย (Tactile System)

V1. ประสาทความรู้สึกการทรงตัว (Vestibular system)

P1. ประสาทความรู้สึกกล้ามเนื้อเอ็นและข้อต่อ (Proprioception  system)

T2. การประเมินประสาทความรู้สึกผิวกาย

V2. การประเมินประสาทความรู้สึกการทรงตัว

P2.การประเมินประสาทความรู้สึกกล้ามเนื้อเอ็นและข้อต่อ

T3. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการรับสัมผัส ผิวกาย(Tactile System)

V3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการทรงตัว

P3. ความบกพร่องของประสาทความรู้สึกกล้ามเนื้อเอ็นและข้อต่อ

T4. ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมประสาทความรู้สึกผิวกาย

01   02   03   04  05  06  07  08

09   10   11   12  13  14  15  16 17  18    19   20

V4. อุปกรณ์ส่งเสริมประสาทความรู้สึกการทรงตัว

01  02   03  04  05  06  07   08 09 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

P4. อุปกรณ์ส่งเสริมประสาทความรู้สึกกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ

01  02  03  04  05  06  07  08  09 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19  20

 

 

 

 

 

 



1 [Go to top]