การพัฒนาเด็กพิเศษให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมอย่างอิสระ นับได้ว่าเป็นความคาดหวังสูงสุดของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กพิเศษ การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษาพิเศษเพื่อค้นหาสิ่งที่เติมเต็มความบกพร่องหรือข้อจำกัดของเด็กพิเศษนั้น เป็นการสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ เชื่อมโยงกับหลักการ ทฤษฎีต่างๆ ให้การพัฒนาเด็กพิเศษเป็นไปอย่างยั่งยืนและเป็นประโยชน์กับคนทั่วไป ดังนั้นจึงขอเชิญชวนผู้ที่มีผลงานวิจัยหรือร่องรอยการพัฒนาเด็กพิเศษ รวมนำเสนอผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเรียนรู้ร่วมกัน โดยส่งบทความวิจัยหรือบทคัดย่อการวิจัย ผ่าน อีเมลล์ sedthailand@gmail.com
1. การประเมินโครงการปรับบ้านเป็นห้องเรียนเปลี่ยนพ่อแม่เป็นครู
2. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ:กรณีศึกษาโรงเรียนเรียนรวมในจังหวัดขอนแก่น
3. การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ สำหรับผู้ปกครองของบุคคลออทิสติกในศูนย์การศึกษาพิเศษ (สมพร หวานเสร็จ,2552)
4. การพัฒนารูปแบบการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มสำหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา โดยการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 9
5. ปัจจัยจิตลักษณะและปัจจัยสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง ศูนย์การศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ
6. ผลการใช้ชุดการเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยกลวิธีรับรู้ผ่านการมองสำหรับนักเรียนออทิสติก
7. ผลของการใช้โปรแกรม Autistic Tactile ’s Program ที่มีต่อการรับรู้สัมผัสผิวกายของเด็กออทิสติก
8. การประเมินโครงการโรงเรียนต้นแบบการทดลองสอนแบบสองภาษา สำหรับนักเรียนหูหนวก
9. ผลการศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ ปีการศึกษา 2558
10 การส่งเสริมศักยภาพด้านพลศึกษาของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
11. การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถทางศิลปะของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
12. การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรวมโดยใช้รูปแบบ SPISIR (สมพร หวานเสร็จ,2562). 01 content] .pdf, 02 chap 1 .pdf, 03 chap 2.pdf, 04 chap 3 .pdf, 05 chap 4 .pdf, 06 chap 5.pdf, 07 chap 6 .pdf, 08 chap 7 .pdf, 09 chap 8 .pdf, 10 App .pdf, 11 App 2.pdf, 12 App 3.pdf, 13 App 4.pdf, 14 App 5.pdf, 16 App 7.pdf , 17 App 8.pdf, 18 App 9.pdf, 19 App 10.pdf